GMP ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และ การสร้างความเข้าใจให้ผู้บริโภค

     บทที่ 9 ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และ
     การสร้างความเข้าใจให้ผู้บริโภค

—   ผลิตภัณฑ์

        - มีข้อมูลเพียงพอและเข้าใจง่าย

        - สามารถบ่งชี้และเรียกคืนได้ง่าย

—   ผู้บริโภค

        - เข้าใจให้ความสำคัญของข้อมูล

        - ใช้ข้อมูลเลือกผลิตภัณฑ์

        - เก็บรักษาจัดเตรียมและใช้ได้ถูกต้อง

 

     9.1 การกำหนดรุ่นผลิตภัณฑ์

        •— จำเป็นสำหรับการเรียกคืนสินค้า
        • —ช่วยเรื่องการหมุนเวียนสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
        • —ระบุผู้ผลิตและรุ่นอย่างถาวร บนภาชนะบรรจุ
        —• ปฏิบัติตามข้อกำหนดของ Codex General Standard for the labelling of Pre-packaged Foods
           รหัส
        • —โรงงานที่ผลิต/บรรจุ
        —• ผลิตภัณฑ์ที่บรรจุ
        • —ปีที่บรรจุ
        • —รุ่นที่บรรจุ
        —• ช่วงเวลาที่บรรจุ

     9.2 ข้อมูลของผลิตภัณฑ์

               ให้ข้อมูลเพียง

                   พอที่จะ

                      ↓

           - ปฏิบัติต่ออาหาร

           - วางจำหน่าย

           - เก็บรักษา

           - จัดเตรียม

           - ใช้ผลิตภัณฑ์

                     ↓

         อย่างปลอดภัยและถูกต้อง

 

              

 

     9.3 การระบุฉลากอาหาร

          ควรปฏิบัติตามข้อกำหนดใน Codex

          General Standard for the labelling prepackaged foods

          สิ่งที่ต้องแสดงบนฉลากตามมาตรฐาน Codex

          -ชื่ออาหาร

          -รายการส่วนประกอบของอาหาร

          -ปริมาณสุทธิ และน้ำหนักเนื้ออาหาร

         ข้อมูลเพิ่มเติมที่ต้องแสดงบนฉลาก

          -ปริมาณของส่วนประกอบอาหารที่เน้นเป็นพิเศษ

          -ปริมาณของส่วนประกอบอาหารที่เน้นเป็นพิเศษว่ามีปริมาณต่ำ

          -ผ่านการฉายรังสี(อาหาร,ส่วนประกอบ,วัตถุดิบ)

 

     บทที่ 10 การฝึกอบรม

     วัตถุประสงค์

     ผู้เกี่ยวข้องกับอาหารโดยตรงหรือโดยอ้อม

       - ฝึกอบรม   - รับคำแนะนำ

         ♦  เปลี่ยนพฤติกรรม และทัศนคติของผู้ที่ปฎิบัติต่ออาหาร

         ♦  ลดความเสี่ยงในการเกิดอาหารเป็นพิษ

         ♦  ลดการร้องเรียนจากลูกค้า

     ประโยชน์ของการฝึกอบรม

       -ส่งเสริมปรับปรุงความรู้ ความชำนาญ

       -ผลิตอาหารที่ปลอดภัย

       -ป้องกันผลเสียที่เกิดต่อคุณภาพของอาหาร

       -ลดข้อร้องเรียนจากลูกค้า

       -เพิ่มผลผลิต

     10.1 จิตสำนึกและความรับผิดชอบ

     10.2 โปรแกรมการฝึกอบรม

     10.3 การแนะนำและตรวจดูแล

     10.4 การอบรมเพื่อฟื้นฟูความรู้

     10.1 ปลูกฝังจิตสำนึกและความรับผิดชอบ

            ฝึกอบรมเมื่อไร

        -พนักงานใหม่

        -เปลี่ยนงาน

        -เปลี่ยนเครื่องจักรอุปกรณ์

        -เปลี่ยนกระบวนการ

        -ตามระยะเวลาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง(ฟื้นฟูความรู้)

         —10.1 ปลูกฝังจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
—       ♦ มีการจัดทำแผนและฝึกอบรมสำหรับพนักงานเก่าและใหม่
       ♦ —ปฐมนิเทศ/แนะนำการปฏิบัติงาน
—       ♦ หลักสูตรการฝึกอบรม(ภายใน/ภายนอก)
       ♦ —ดำเนินการฝึกอบรม และบันทึกการฝึกอบรมของพนักงาน
       —♦ มีการทดสอบประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าฝึกอบรม
       ♦— บันทึกลงในประวัติการฝึกอบรม

     10.2 โปรแกรมการอบรม

          ♦ —อันตรายของอาหาร,ชีวภาพ เคมี กายภาพ
          ♦— สุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหาร การปนเปื้อน
—          ♦ ระบบ HACCP จุดวิกฤตที่ต้องควบคุม
          ♦ —กระบวนการผลิต
          —♦ ความจำเป็นในแต่ละตำแหน่งงาน

     10.3 การฝึกอบรมเพื่อฟื้นฟูความรู้

         ♦— การทบทวนโปรแกรมการอบรม และปรับให้ทันสมัย

         ♦— พนักงานตระหนักอยู่ตลอดเวลาเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงาน ด้านสุขลักษณะขั้นพื้นฐาน เพื่อความปลอดภัย

                                                                   Thank  you

Visitors: 80,313