GMP สถานที่ประกอบการโรงงานGMP : สุขลักษณะส่วนบุคคล

— วัตถุประสงค์

              เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ที่จะสัมผัสกับอาหารโดยตรงหรือโดยอ้อม จะไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนกับอาหาร

             ข้อกำหนด

            7.1 สุขภาพ

            7.2 การเจ็บป่วยและบาดเจ็บ

            7.3 ความสะอาดส่วนบุคคล

            7.4 อุปนิสัยส่วนบุคคล

            7.5 ผู้เยี่ยมชม

     ความสำคัญ: ควบคุม + รักษาความรักสะอาด ของบุคคลเพื่อป้องกัน                                                                                การปนเปื้อนจากบุคคล àอาหาร

                                                                 ทั้งทางตรง / ทางอ้อม

     7 สถานที่ประกอบการ :
        สุขลักษณะส่วนบุคคล

     7.1 สุขภาพ

         ไม่มีบาดแผลและไม่เป็นพาหะของโรคตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

       ♦ โรควัณโรคในระยะอันตราย

       ♦ โรคผิวหนังที่น่ารังเกียจ

       ♦ เท้าช้าง

       ♦ โรคพิษสุราเรื้อรัง

       ♦ ติดยาเสพติด

       ♦ โรคเรื้อน

     7.2 การเจ็บป่วยและบาดเจ็บ

           สภาพที่ต้องรายงานต่อฝ่ายบริหารตรวจรักษา หรือแยกออกจากการผลิต

—          • โรคดีซ่าน
          •— อาการท้องร่วง
—          • การอาเจียน
          •— เป็นไข้
          • —เจ็บคอและมีไข้
          —• มีแผลติดเชื้อที่มือและผิวหนัง(ฝี สิว บาดแผลฯลฯ)
—          • ฝีหนอง/สารที่ขับออกจาก หู ตา หรือ จมูก
 

     7.3 ความสะอาดส่วนบุคคล

        - รักษาความสะอาดส่วนบุคคลอย่างเคร่งครัด

        - สวมเครื่องแต่งกายถูกต้อง

      แต่งกายสะอาด เสื้อคลุมหรือผ้ากันเปื้อนสะอาด

       - มือ และ เล็บ ต้องสะอาด ปิดแผลอย่างถูกต้อง

       - การล้างมือให้ถูกวิธี

       กฎระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกาย

       —ชุดฟอร์มของบริษัท

        - รัดกุม ทำด้วยวัสดุที่อากาศถ่ายเทได้ดี

        - ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน เช่น ไม่มีกระเป๋าเสื้อ

        - สีอ่อน

        - ซักล้าง ทำความสะอาดง่าย

—        ไม่ควรสวมชุดฟอร์มมาจากบ้าน
        —วิธีการซักล้าง และทำความสะอาด

       กฎระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกาย

       รองเท้า

          พื้นที่เปียก→รองเท้าบูท

          พื้นที่แห้ง→รองเท้าหุ้มส้น

       จัดเตรียมบริเวณทำความสะอาดรองเท้า

          บริเวณเปลี่ยนรองเท้า ก่อนเข้าบริเวณผลิต

—       เน็ทคลุมผมและหมวก

         -ป้องกันเส้นผมร่วงลงในผลิตภัณฑ์

         -พิจารณาความถี่ของตาข่าย

       • —ผ้าปิดปาก

         - ป้องกันเชื้อจุลินทรีย์จากน้ำลายและทางเดินหายใจ

         - ปิดทั้งปากและจมูก

—       • —ผ้ากันเปื้อน

        - ทำด้วยผ้า ควรมรสีอ่อน

        - ทำด้วยแผ่นพลาสติก

       ดูแลความสะอาดและสภาพของผ้ากันเปื้อน

       —ถุงมือ สวมถุงมือเมื่อ

        - จับต้องอาหารโดยตรง

        - มีบาดแผล(ปิดพลาสเตอร์ ป้องกันน้ำ)

      * ไม่ควรนำถุงมือประเภท Disposable gloves กลับมาใช้ใหม่


        —ล้างมือ

        - ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

        - ออกจากห้องสุขา

        - จับต้องวัตถุดิบหรือสิ่งสกปรกจริงๆ

          —สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ

        - ต้องมีอุปกรณ์ คือกล่องใส่สบู่เหลว,อุปกรณ์ที่ทำให้มือแห้ง เช่น ลมเป่า หรือ ทิชชู หรือ ผ้าสะอาดเช็ดเพียง 1 ครั้ง แล้วนำ             ไปซัก

—         สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ

        - ต้องมีกระจกไว้ดูในการแต่งกาย มีราวแขวน เสื้อผ้าและล็อกเกอร์ไว้เก็บของใช้ส่วนตัว ให้สำหรับพนักงาน

—          —ถุงมือที่ใช้จะต้องมีสภาพดี สะอาด

        - ล้างมือให้สะอาดก่อนสวมถุงมือ

         ควรล้างมือ เมื่อ

        •— ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
        •— หลังจากการเข้าห้องน้ำ
—        • หลักการจับต้องสิ่งสกปรก
—        • หลักจากการแคะ เกา ตามร่างกาย
        • —หลักจากการหยุดพัก
        • —ล้างมือตามระยะเวลาที่กำหนด

       8 การขนส่ง

         วัตถุประสงค์

       - ป้องกันอาหารจากแหล่งที่อาจปนเปื้อน

       - ป้องกันอาหารจากความเสียหาย

       - จัดให้มีสภาพแวดล้อมที่จะควบคุมการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และผลิตสารพิษในอาหาร

      8.1 บททั่วไป

       จำเป็นต้องป้องกันอย่างเพียงพอระหว่างการขนส่ง ขึ้นอยู่ลักษณะอาหารและสภาวะขนส่งอาหารนั้น เช่น อาหารแช่เย็น              ควบคุม  T<5 C

      8.2 ข้อกำหนด

         ณ ที่จำเป็น ควรออกแบบ/สร้างพาหนะเพื่อให้สามารถ

       - ไม่ปนเปื้อนกับอาหาร หรือภาชนะบรรจุ

       - ทำความสะอาดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและ ณ ที่จำเป็นทำการฆ่าเชื้อได้

       - ณ ที่จำเป็น แยกอาหารออกจากส่วนที่ไม่ใช่อาหารได้

       - ป้องกันสิ่งปนเปื้อน เช่น ฝุ่น-ควัน

       - รักษาสภาวะที่จำเป็น เพื่อป้องกันไม่ให้อาหารเน่าเสีย

       - ตรวจสอบอุณหภูมิ ความชื้นและสภาวะอื่นๆ ที่จำเป็นได้

     8.3 การใช้งานและการดูแลรักษา

      • —สะอาด และบำรุงรักษาให้มีสภาพเหมาะสม
      •— ถ้าใช้บรรทุกอาหารคนละชนิด หรือสิ่งที่ไม่ใช่อาหารต้องมีการทำความสะอาด และ ณ ที่จำเป็น ฆ่าเชื้อ(หลังการใช้)
      • —ณ ที่เหมาะสม ในการขนส่งปริมาณมากควรกำหนดและทำเครื่องหมาย “ใช้เฉพาะอาหารเท่านั้น” ที่ตู้สินค้าและนำไปใช้             ตามที่กำหนดไว้จริงๆ

 

      ข้อแนะนำทั่วไป

      มีวิธีการแก้ไข กรณีหากเกิดสภาพการขนส่งที่ผิดปกติ

       - พนักงานที่ทำหน้าที่ในการขนส่งต้องได้รับการฝึกอบรม

       - มีการบันทึก อุณหภูมิที่ใช้ในการขนส่ง

Visitors: 80,314